บันทึกการเรียนครั้งที่ 4
วันจันทร์ ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2563 เวลา 08:30-12:30 น.
เนื้อหาที่เรียน
การจัดประสบการณ์สำหรับเด็ก ต้องคำนึกถึง พัฒนาการของเด็กและวิธีการ
"หรือคำว่าเล่น"
การที่จะจัดประสบการณ์กับเด็กควรเอาสิ่งที่เป็นรูปธรรมมาก่อนนามธรรม ให้เด็กจับต้องในสิ่งที่จับต้องได้ก่อนเสมอ เช่น ของเล่นที่เป็น 3 มิติ 2 มิติ และอื่นๆ
คณิตศาสตร์อยู่ในชีวิตประจำวัน
สาระที่1 จำนวนและการดำเนินการ
การบอกอันดับที่ของสิ่งต่างๆ เเละการนับจำนวน หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า จะต้องกำหนดสิ่งเริ่มต้นให้เด็กก่อน แล้วจึงให้เด็กมานับรวมกัน
สาระที่2 การวัด
การวัดความยาว ความสูง ของสิ่งต่างๆเป็นการหาความยาวตามเเนวนอน
การวัดความสูง เป็นการหาความยาวเเนวตั้ง ความกว้าง ปริมาตร
การหาค่า ใช้เครื่องมือเพื่อหาค่า
ใช้เครื่องมือที่กลากหลายเเตกต่างกันไปเเละจะต้องให้เด็กมีส่วนร่วมด้วย เช่น
การใช้มือ เเขน
สิ่งรอบตัวในห้องเรียน
ในการวัด การวัดอาจใช้เครื่องมือวัดที่มีหน่วยไม่ใช่น่วยมาตรฐาน
สาระที่3 เราขาคณิต
เกี่ยวกับทิศทาง ตำเเหน่ง
หน้าหลัง ข้างนอก ข้างใน ระหว่าง
ซ้ายขวา ใกล้ ไกล ระยะทาง เเละการจำเเนกรูปทรงรูปร่างต่างๆ
สาระที่4 พีชคณิต
แบบรูปเป็นความสัมพันธ์ที่แสดงลักษณะสำคัญร่วมของชุดรูป อนุกรม ของจำนวนรูปเรขาคณิตหรือสิ่งต่างๆ
สาระที่5 การวิเคราะห์จข้อมูล และความน่าจะเป็น
การสังเกต รวบรวม การสอบถาม เช่น
ให้เด็กนำผลไม้มาว่างเพื่อต้องการรวบรวมว่าในห้องเรียนเด็กชอบกินอะไรมากที่สุดนำเสนอเป็นกราฟกราฟก็จะเเสดงจำนวนยังสามารถ
เเละสามารถเปรียบจำนวนได้ว่าอันไหนน้อยสุดเเละมากที่สุด
กราฟมีหลากหลายเราจะต้องเลือกกราฟให้เหมาะสมกับการสำรวจเเละวิเคราะห์
สาระที่6 ทักษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์
เด็ก จะเริ่มใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
8 + 5 = 3
ก่อนที่เด็กจะใช้ขั้นจะเป็นขั้นปลายจนกว่าเด็กจะผ่านขั้นอนุรักษ์
เด็กจะต้องมีเหตุหรือรู้จักคิดเเบมีเหตุผล
คำศัพท์
Order
ลำดับ
Difference ผลต่าง
Division การเเบ่ง
Series
อนุกรม
Deometry เลขาคณิต
ประเมินอาจารย์ อาจารย์ได้เปิดโอกาศให้นักศึกษาได้มีส่วนรวมในการตอบคำถามการเรียนการสอน
ประเมินตนเอง ตั้งใจฟังอย่างตั้งใจอาจมีคุยกับเพื่อนบ้าง
ประเมินเพื่อน เพื่อนตั้งใจฟังเเละตอบคำถามได้อย่างดี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น